กระบวนวิชา 100308
นวัตกรรม
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารการศึกษา
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2559
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จัดทำโดย นางสาวนัจนันท์ ไกลถิ่น
รหัสนักศึกษา 570210164 สาขาวิชา สังคมศึกษา
กลุ่มสาระที่ใช้ในการสอน สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษาที่เลือก
- หนังสือเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
- คำบรรยาย เนื้อหาเพิ่มเติม โดย power point
- การเรียนเป็นกลุ่ม
👉 จากเนื้อหาข้างต้นสามารถนำมามาวิเคราะห์ และออกแบบ
ระบบการใช้ เทคโนโลยี ตามหลักของASSURE MODEL ได้ดังนี้
ระบบการใช้ เทคโนโลยี ตามหลักของASSURE MODEL ได้ดังนี้
1.1 ลักษณะทั่วไป
ผู้เรียนเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
1
ที่มีความพร้อมด้านสติปัญญา สามารถเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้
มีความมุ่งมั่นขยันหมั่นเพียรและมีความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ สุขภาพร่างกายสมบูรณ์ เจริญเติบโตสมวัย
และสุขภาพจิตดี
มีความมุ่งมั่นขยันหมั่นเพียรและมีความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ สุขภาพร่างกายสมบูรณ์ เจริญเติบโตสมวัย
และสุขภาพจิตดี
1.2 ลักษณะเฉพาะ
1.2.1 นักเรียนบางส่วนยังขาดความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสถาบันทางสังคม
1.2.2 นักเรียนบางคนยังไม่กระตือรือร้นในการเรียน
1.2.2 นักเรียนบางคนยังไม่กระตือรือร้นในการเรียน
1.2.3 ทัศนคติของผู้เรียนต่อวิชาสังคมศึกษา
2.1 ด้านพุทธิพิสัย
2.1.2. สามารถบอกลักษณะของสถาบันต่างๆในสังคมได้อย่างถูกต้อง
2.1.3. สามารถบอกหน้าที่ของสถาบันต่างๆในสังคมได้
2.2 ด้านจิตพิสัย
2.2.1. เป็นแบบอย่างที่ดีในสังคม
2.2.2. มีทัศนคติที่ดีต่อสถาบันทางสังคม
2.3 ด้านทักษะพิสัย
2.3.1. อนุรักษ์ ส่งเสริมและถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคม
2.3.2. เคารพกฏระเบียบทางสังคม
3. การเลือก ดัดแปลงหรือออกแบบสื่อใหม่
(Select instructional methods, media, and materials)
(Select instructional methods, media, and materials)
👉 การพิจารณาเลือกสื่อการเรียนการสอนที่มีอยู่แล้ว
- หนังสือเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
- คำบรรยาย เนื้อหาเพิ่มเติม โดย power point
- การเรียนเป็นกลุ่ม
ชนิดของสื่อ
|
ความสนใจของผู้เรียน
|
วัตถุประสงค์
ในการใช้สื่อ |
เทคนิคการใช้
|
ข้อจำกัด
ในการใช้
|
ผลการพิจารณา
|
หนังสือเรียนวิชาสังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม
|
น้อย
|
เพื่อให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าทบทวนบทเรียนได้ด้วยตนเอง
|
เอกสารอ้างอิง
และขยายความเพิ่มเติม
|
-
|
✔
|
คำบรรยาย เนื้อหาเพิ่มเติมโดย powerpoint
|
ปานกลาง
|
เพื่อดึงดูดความสนใจจากนักเรียน
นอกจากการเรียนจากหนังสือ
|
บรรยายเพิ่มเติมนอกเหนือจากในหนังสือโดยผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต
|
-
|
✔
|
การเรียนเป็นกลุ่ม
|
มาก
|
เพื่อเป็นการกระตุ้นความสนใจ
และทำให้นักเรียนเข้าใจในวิชาที่เรียนมากขึ้น และฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม
|
จัดกิจกรรมที่เหมาะสมในการเรียน
การสอน
|
-
|
✔
|
👉 ออกแบบสื่อใหม่
วางแผนจัดทำสื่อขึ้นมาใหม่
โดยใช้โปรแกรม power
point โดยใส่เนื้อหาลงไปอย่างครอบคลุม
และชัดเจน โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน โดยครูเป็นผู้จัดทำและเผยแพร่
ผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ตให้นักเรียนทุกคนไปใช้ และให้ใบบันทึกการใช้สื่อแก่นักเรียนและอธิบายบอกถึง
สิ่งที่ได้เรียนรู้และสามารถนำไปใช้ได้ และผู้สอนก็ทำการทดสอบ เพื่อทดสอบสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
เป็นรายบุคคล
และชัดเจน โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน โดยครูเป็นผู้จัดทำและเผยแพร่
ผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ตให้นักเรียนทุกคนไปใช้ และให้ใบบันทึกการใช้สื่อแก่นักเรียนและอธิบายบอกถึง
สิ่งที่ได้เรียนรู้และสามารถนำไปใช้ได้ และผู้สอนก็ทำการทดสอบ เพื่อทดสอบสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
เป็นรายบุคคล
4. การใช้สื่อ
(Utilize media and materials)
ขั้นตอนการใช้สื่อการเรียนการสอน
มีขั้นตอนที่สำคัญอยู่ 4 ขั้นตอน คือ
1.
ศึกษาทำความเข้าใจเนื้อหาในสื่อ / ทดลองใช้
ก่อนนำสื่อการเรียนการสอนมาใช้ต้องมีการตรวจสอบเนื้อหาว่าตรงตามวัตถุประสงค์หรือไม่
และทดลองใช้ดูว่ามีปัญหาหรือไม่ ถ้ามีจะได้แก้ไขปรับปรุงได้ทัน
และทดลองใช้ดูว่ามีปัญหาหรือไม่ ถ้ามีจะได้แก้ไขปรับปรุงได้ทัน
2.
เตรียมความพร้อมด้านสภาพแวดล้อม / จัดเตรียมสถานที่
การที่จะใช้สื่อการเรียนการสอนจำเป็นที่ต้องมีการเตรียมสถานที่
สิ่งอำนวยความสะดวก แสง
การระบายอากาศ และอื่น ๆ ให้เหมาะสมกับการใช้สื่อการสอนแต่ละชนิด
การระบายอากาศ และอื่น ๆ ให้เหมาะสมกับการใช้สื่อการสอนแต่ละชนิด
3.
เตรียมความพร้อมของผู้เรียน
ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้จากการใช้สื่อการเรียนการสอนได้ดีนั้น
จะต้องมีการเตรียมผู้เรียนให้พร้อม
ที่จะเรียนเรื่องนั้น ๆ โดยการแนะนำสิ่งที่จะนำเสนอ อาจจะสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น การเร้าความสนใจ
เพื่อให้เด็กสนใจและไม่เบื่อ หรือเน้นจุดที่ต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ ปัจจัยเหล่านี้จะทำให้ผู้เรียน
มีเป้าหมายในการฟังหรือดูสิ่งที่ผู้สอนนำเสนออันจะนำไปสู่การเรียนรู้ที่ดีได้
ที่จะเรียนเรื่องนั้น ๆ โดยการแนะนำสิ่งที่จะนำเสนอ อาจจะสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น การเร้าความสนใจ
เพื่อให้เด็กสนใจและไม่เบื่อ หรือเน้นจุดที่ต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ ปัจจัยเหล่านี้จะทำให้ผู้เรียน
มีเป้าหมายในการฟังหรือดูสิ่งที่ผู้สอนนำเสนออันจะนำไปสู่การเรียนรู้ที่ดีได้
4.
ขั้นตอนการนำเสนอ / การควบคุมชั้นเรียน
ผู้สอนที่ทำหน้าที่ผู้เสนอสื่อการเรียนการสอนนั้น
ในการนำเสนอควรปฏิบัติดังนี้
4.1 ต้องทำตัวเป็นตัวกลางที่จะทำให้การนำเสนอครั้งนั้นประสบความสำเร็จ
โดยการทำตัวให้เป็นธรรมชาติ หลีกเลี่ยงท่าทางที่ไม่เหมาะสมที่ติดเป็นนิสัย เพราะจะทำให้ผู้เรียนสนใจ ท่าทางเหล่านี้แทน
4.2 ท่าทางการยืน ต้องยืนหันหน้าให้ผู้เรียน ไม่ควรหัน ข้างหรือหันหลังให้ผู้เรียน
4.3
ขณะที่บรรยายนำเสนอสื่อการเรียนการสอนต้องสอดแทรกอารมณ์ขันบ้างเพื่อให้ไม่น่าเบื่อ
4.4 ประเมินความสนใจของผู้เรียน
โดยใช้การกวาดสายตามองผู้เรียนให้ทั่วทั้งชั้นซึ่งเป็นการแสดง
ความสนใจผู้ เรียน และวิเคราะห์สีหน้า ท่าทางของผู้เรียนไปพร้อมกัน
ความสนใจผู้ เรียน และวิเคราะห์สีหน้า ท่าทางของผู้เรียนไปพร้อมกัน
4.5 ไม่ใช้เวลาเตรียมสื่อนานเกินไปจะทำให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย
5. การกำหนดการตอบสนองของผู้เรียน
(Require learner
participation)
ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถ ตอบสนองโดยเปิดเผยโดยการพูดหรือปฏิบัติให้เห็น โดยอาจจะ
มีการทำงานกลุ่มภายในชั้นเรียน ลักษณะเช่นนี้จะเป็นตัวดึงดูดให้นักเรียนสนใจเรียนเพราะมีกิจกรรมให้ทำ
และมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนให้มากที่สุด แล้วสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ และการทดสอบแบบปากเปล่า
และใบงานเพื่อให้ผู้เรียนทราบว่าตนมีความเข้าใจและเกิดการเรียนรู้ที่ถูกต้องหรือไม่
6. การประเมินการใช้สื่อ
(Evaluate and revise)
หลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแล้วนั้นจำเป็นต้องมีการประเมินกระบวนการ การเรียนการสอน
เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับผู้สอนว่าสื่อที่นำไปใช้นั้นบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่
เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับผู้สอนว่าสื่อที่นำไปใช้นั้นบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่
1. การประเมินผลการเรียนการสอน
1.1 นักเรียนมีส่วนร่วมหรือปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนมากน้อยเพียงใด
1.2 นักเรียนให้ความสนใจเนื้อหาและใส่ใจบทเรียนหรือไม่
1.3 ในชั้นเรียนมีการเตรียมบรรยากาศสถานที่ที่เหมาะสมหรือไม่
1.4 การจัดลำดับเนื้อหาที่นำมาสอนเป็นไปตามลำดับขั้นตอนหรือไม่
1.5 ผู้เรียนเข้าใจและสามารถใช้เรื่องที่สอนไปมากน้อยเพียงใดหลังจากเรียนจบแล้ว
2. การประเมินสื่อและวิธีการเรียนการสอน
2.1 ผู้สอนสามารถใช้สื่อได้อย่างเต็มประสิทธิภาพสื่อหรือไม่
2.2 สื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจบทเรียนได้ง่ายขึ้นหรือไม่
2.3 สื่อมีความชัดเจนเหมาะสมกับจำนวนผู้เรียนหรือไม่
2.4 สื่อที่ใช้สามารถใช้ได้ควบคุมเนื้อหาและวิธีการสอนของผู้สอนหรือไม่
2.5 สื่อที่ใช้สอนตรงประเด็นกับเรื่องที่สอนหรือไม่
2.6 สื่อที่ใช้มีความเหมาะสมต่อกลุ่มเป้าหมายหรือไม่
3. การประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
3.1 ให้ทำการทดสอบผู้เรียนก่อนและหลังทำการเรียนการสอนโดยใช้สื่อชนิดต่างๆ
3.2 สังเกตจากการสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
เช่น การถาม ตอบ ระหว่างการเรียนการสอน
3.3 สังเกตจากภาคปฏิบัติ การทำงานกลุ่ม